top of page

 ในการใช้งาน CSS เราจำเป็นที่จะต้องศึกษาถึงคุณสมบัติ (Property) ที่สามารถกำหนดได้เสียก่อนซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะมีรูปแบบในการกำหนดค่า (Value) ที่แตกต่างกันโดยแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ได้ดังนี้

  -คุณสมบัติเกี่ยวกับหน่วยวัด

  -คุณสมบัติเกี่ยวกับตัวอักษร

  -คุณสมบัติเกี่ยวกับสีและพื้นฉากหลัง 

  -คุณสมบัติเกี่ยวกับข้อความและย่อหน้า

  -คุณสมบัติเกี่ยวกับกรอบ

 

    10.2.1 คุณสมบัติเกี่ยวกับหน่วยวัด

   มีบางคุณสมบัติที่ต้องเกี่ยวข้องกับหน่วยวัดซึ่งหน่วยวัดที่สามารถกำหนดได้จะมีดังนี้

  -หน่วยเปอร์เซ็นต์, percentage (%)

  -หน่วยมิลลิเมตร, millimeter (mm.)

  -หน่วยเซ็นติเมตร, Centimeter (cm.)

  -หน่วยนิ้ว, inch (in.)

  -หน่วยพอยท์, point (pt.)                                       โดย 1 พอยท์เท่ากับ 172 นิ้วหน่วยพิก้า, pica (pc.)                                                                          โดย 1 พิก้าเท่ากับ 12 พอยท์

  -หน่วยพิกเซล, pixel (px.)                                      โดย 1 พิกเซลคือ 1 จุดบนจอภาพหรือ                                                                                             เท่ากับ1196 นิ้วใน CSS3

  -หน่วย em                                                             โดย 1 em เท่ากับขนาดตัวอักษรขณะนั้น

  -หน่วย ex                                                               โดย 1 ex เท่ากับขนาดตัวอักษร x ตัวพิมพ์                                                                                      เล็กในแบบอักษรนั้นโดยประมาณ (x-height)

ตัวอย่างเช่น

font-size: 24pt;

font-size: 5pc;

margin: 2mm; 

 

10.2.2 คุณสมบัติเกี่ยวกับตัวอักษร

การกำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับตัวอักษร จะประกอบด้วย

การกำหนดแบบอักษร

รูปแบบ  font-family: ชื่อแบบอักษร:

ชื่อแบบอักษร หมายถึง ชื่อฟอนต์แต่ละฟอนต์ที่ใช้ได้บนเบราว์เซอร์ชื่อแบบอักษร

ตัวอย่างเช่น

font-family: AngsanaUPC;

font-family: CordiaNew;

font-family: Comic Sans MS;

การกำหนดขนาดของตัวอักษร

รูปแบบ  font-size: ขนาดของตัวอักษร

ขนาดของตัวอักษร ประกอบด้วยค่าดังนี้

XX-small, x-small, small, medium, large, x-large,และ xx-large

เมื่อขนาตจะไล่จากเล็กไปใหญ่ดังรูป

xx-small | x-small | small | medium | large | X-large | XX-large

โดยค่าปกติจะเป็น medium

ตัวเลข หมายถึง ค่าของตัวเลขความสูงมาตรฐานอยู่ในช่วง 1-7

ตัวเลขหน่วยวัด หมายถึง ตัวเลขความสูงพร้อมหน่วยวัดตวเลข

ตัวอย่างเช่น

font-size: large;

font-size: 10pt;

การกำหนดความสูงของบรรทัด

รูปแบบ   line-heigh: ความสูงของบรรทัด

ความสูงของบรรทัด        ประกอบด้วยคำดังนี้ 

   normal               หมายถึง     ความสูงของบรรทัดปกติ (เป็นค่าปกติ)

   ตัวเลข                 หมายถึง    ตัวเลขที่นำไปคูณกับความสูงตัวอักษรขณะนั้น

   ตัวเลขหน่วยวัด  หมายถึง    ตัวเลขคววามสูงที่แน่นอนพร้อมหน่วยวัด

   ตัวเลข%             หมายถึง    ตัวเลขเปอร์เซ็นของความสูงตัวอักษรขณะนั้น

ตัวอย่างเช่น   line-height:   15px;

                       line-height:   120%

การกำหนดความหนาของตัวอักษร

รูปแบบ   font-weight: ความหนาของตัวอักษร;

     ความหนาของตัวอักษร ประกอบด้วยค่าดังนี้

         normal   หมายถึง    ตัวปกติ

         lighter     หมายถึง    ตัวบาง

         bold         หมายถึง    ตัวหนา

         bolder      หมายถึง   ตัวหนาขึ้นอีก

         ตัวเลข      หมายถึง   กำหนดเป็นตัวเลข 100-900 เพื่อบอกระดับความหนาโดย 100 จะบางสุด และ 900 จะหนาสุด

  

ตัวอย่างเช่น   font-weight: light;

                       font-weight: extra-bold;

กำหนดลักษณะของอักษรตัวเอน

รูปแบบ  font-style; ลักษณะตัวอักษร;

    ลักษณะตัวอักษร ประกอบด้วยค่าดังนี้ 

        normal    หมายถึง    อักษรปกติ

        italic หรือ  oblique  หมายถึง  ตัวอักษรเอน

ตัวอย่างเช่น  font-style:  italic;

                      font-style: normal;

การกำหนดลักษณะตัวพิมพ์ของตัวอักษร

รูปแบบ    font-variant: ลักษณะตัวพิมพ์;

       ลักษณะตัวพิมพ์ ประกอบด้วยค่าดังนี้

           normal       หมายถึง    อักษรปกติ

           small-caps หมายถึง   ตัวพิมพ์ตัวใหญ่ที่มีขนาดเล็กกว่าธรรมดา

                                                ตัวแรกของคำจะเป็นตัวใหญ่ขนาดปกติ  ตัวถัดมาจะเป็นตัวใหญ่เช่นกันแต่มีขนาดเล็กกว่า

ตัวอย่างเช่น  font-variant: small-caps;

การกำหนดลักษณะโดยรวมของตัวอักษร 

รูปแบบ  font:ลักษณะโดยรวมของตัวอักษร;

      ลักษณะโดยรวมของตัวอักษร

             ได้แก่ font-style font-weight font-variant font-size (หรือ line-height) font-family ซึ่งเราสามรถสั่งรวมกันในคุณสมบัติ font ในคราวเดียว

{font: style weight variant size/line-height fontn-family}

ตัวอย่างเช่น font: AngsanaUPC medium italics 10pt;

                     font: obligue bold small-caps 1.5em Verdana,sans-serif

 

        

 

10.2.3 คุณสมบัติเกี่ยวกับชีและพ้นภายหลัง

การกำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับสีและพื้นฉากหลังจะประกอบด้วย

  การกำหนดสีให้กับตัวอักษร

รูปแบบ   color:; สี

            สี   สามารถกำหนดได้โดยใช้ชื่อของสีมาตรฐานหรือกำหนดจากรหัสเลขฐานสิบหก

   ตัวอย่างเช่น      color: pink

                             color: #FFCCB, หมายถึง สีชมพู

การกำหนดสีในระบบ RGB และ RGB (a)

 

รูปแบบ            color: rgb (F, 9, 6, ความโปร่งแสง):

                        color: rgba (P. g. b, ความโปร่งแสง):

r หมายถึง     ระดับของสีแดง (red) กำหนดเป็นตัวเลข 0-255

g หมายถึง     ระดับของสีเขียว (green) กำหนดเป็นตัวเลข 0-255

b หมายถึง     ระดับของสีฟ้า (blue) กำหนดเป็นตัวเลข 0-255                         ความโปร่งแสง  หมายถึง  กำหนดเป็นตัวเลข 0-255 กำหนดค่าความโปร่งแสงมีค่าในช่วง 0-1 หากกำหนดเป็น 0 จะโปร่งแสงมากสุด แต่ถ้าเป็น 1 จะทึบแสง   

ตัวอย่างเช่น     color: rgb (0, 255, 0);

                         color: rgba (0, 255, 0, 0.25): 

 

 การกาหนดสีในระบบ HSLและ HSL(a))

   รูปแบบ color: sih, s.): color: Asta Sh, 8, 4, ความโปร่งแสง),

h(hue)            หมายถึง   สีที่กำหนดจากวงล้อดีซึ่งกำหนดเป็นตัวเลข 0-360 s(saturation)  หมายถึง  ความสดของสีกำหนดเป็นตัวเลข 0%-100%

                                       โดย 0% จะเป็นสีที่ม ๆ และ 100% จะสดใส

l(Iightness)     หมายถึง   ความสว่างของสีกำหนดเป็นตัวเลข 0% -100%, โดย                                           086 จะเป็นสีดำมีดและ 100% จะขาวสว่าง

ความโปร่งแสง หมายถึง   กำหนดค่าความโปร่งแสงมีค่าในช่วง 0-1 หากกำหนดเป็น 0 จะโปร่งแสงมากสุด แต่ถ้าเป็น 1 จะทึบแสง

 

ตัวอย่างเช่น color: hsla (240, 78%, 50%, 0.25);

การกำหนดสีพื้นหลัง

รูปแบบ  background: สี:

สี     สามารถกำหนดได้โดยใช้ชื่อของสีมาตรฐาน    หรือ     กำหนดจากรหัสเลขฐานสิบหก

ตัวอย่างเช่น   background: green 

                       background: # 000000; หมายถึง สีเขียว

    10.2.4 คุณสมบัติเกี่ยวกับข้อความและย่อหน้า

การกำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับข้อความและย่อหน้า  จะประกอบด้วย

การกำหนดช่องไฟระหว่างคำ

รูปแบบ word-spacing: ช่องไฟระหว่างคำ;

ช่องไฟระหว่างคำ หมายถึง การกำหนดตัวเลขระยะห่างระหว่างคำพร้อมหน่วยวัด

ตัวอย่างเช่น   word-spacing: 0.5in;

การกำหนดช่องไฟระหว่างตัวอักษร

รูปแบบ  letter-spacing: ช่องไฟระหว่างตัวอักษร

ช่องไฟระหว่างตัวอักษร หมายถึง การกำหนดตัวเลขระยะห่างระหว่างตัวอักษรพร้อมหน่วยวัด

ตัวอย่างเช่น

letter-spacing: 8px;

 การกำหนดการขีดเส้นข้อความ

รูปแบบ  text-decoration:  การขีดเส้นข้อความ:

การขีดเส้นข้อความ underline overline line-through blink

ประกอบด้วยตัวเลือกดังนี้หมายถึงขีดเส้นใต้ข้อความหมายถึงขีดเส้นเหนือข้อความหมายถึงขีดเส้นพาดกลางข้อความหมายถึงท่าตัวอักษรกระพริบ

ตัวอย่างเช่น  text-decoration: underline;

                      text-decoration: line-through;

  การทำตัวอักษรแบบมีเงา

รูปแบบ  text-shadow:

offset-x,     หมายถึง  ระยะของเงาในแนวนอน (ซ้าย-ขวา) ที่ห่างจากตัวอักษร

offset-y,     หมายถึง  ระยะของเงาในแนวตั้ง (ขึ้น-ลง) ที่ห่างจากตัวอักษร

blur            หมายถึง  กำหนดระดับความเบลอของเงาหากเป็น Opx จะไม่เบลอ                                       จะได้เงาที่มีความเข้มเหมือนตัวอักษรต้นแบบ,

color: offset-x    หมายถึง   กำหนดสีให้กับเงาปกติมักใช้เป็นสีเทาดำ

offset-y blur color

ตัวอย่างเช่น

text-shadow:

0px 6px 6px rgb (51,51,51);

Text Shadow

  การปรับเปลี่ยนรูปแบบตัวพิมพ์

รูปแบบ  text-transform: 

รูปแบบตัวพิมพ์; รูปแบบตัวพิมพ์อาจเป็น

capitalize lowercase  uppercase  หมายถึงหมายถึงตัวแรกเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ที่เหลือเป็นตัวพิมพ์เล็กเป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด

ตัวอย่างเช่น text-transform: lowercase:

การกำหนดการจัดวางข้อความในย่อหน้า

รูปแบบ text-align: การจัดวางข้อความ:

การจัดวางข้อความประกอบด้วยตัวเลือกดังนี้

left       หมายถึง       จัดวางข้อความให้อยู่ชิดซ้ายบรรทัด

right     หมายถึง    จัดวางข้อความให้อยู่ชิดขวาบรรทัด

center  หมายถึง   จัดวางข้อความให้อยู่กึ่งกลางบรรทัด

justify  หมายถึง    จัดวางข้อความชิดขอบซ้ายและขวา

ตัวอย่างเช่น

text-align: left;

การกำหนดระยะเยื้องของบรรทัดแรกของย่อหน้า

รูปแบบ  text-indent: ระยะเยื้อง

หมายถึงการกำหนดตัวเลขของระยะเยื้องของข้อความบรรทัดแรกของย่อหน้าพร้อมหน่วยวัด

ตัวอย่างเช่น   text-indent: 20px;

การจัดวางตัวอักษรในแนวตั้ง

รูปแบบ  vertical-align: ลักษณะการจัดวาง;

ลักษณะการจัดวาง baseline super sub ประกอบด้วยตัวเลือกดังนี้

หมายถึงจัดวางข้อความให้ติดขอบล่างของบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่เหนือบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่ใต้บรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้ติดขอบบนของบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่กึ่งกลางบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่ติดขอบล่างของบรรทัด top middle bottom การกำหนดระยะขอบรูปแบบ margin-left: ระยะขอบ; margin-right: ระยะขอบ; margin-top: ระยะขอบ; เมื่อ margin-left หมายถึง margin-right หมายถึง margin-top หมายถึงระยะขอบหมายถึงกั้นขอบด้านซ้ายกั้นขอบด้านขวากันขอบด้านบนตัวเลขระยะขอบพร้อมหน่วยวัด 10.2.5 คุณสมบัติเกี่ยวกับกรอบการกำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับกรอบจะประกอบด้วย

การจัดวางตัวอักษรในแนวตั้ง

รูปแบบ    vertical-align: ลักษณะการจัดวาง;

ลักษณะการจัดวาง baseline super sub ประกอบด้วยตัวเลือกดังนี้หมายถึงจัดวางข้อความให้ติดขอบล่างของบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่เหนือบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่ใต้บรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้ติดขอบบนของบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่กึ่งกลางบรรทัดหมายถึงจัดวางข้อความให้อยู่ติดขอบล่างของบรรทัด top middle bottom การกำหนดระยะขอบรูปแบบ margin-left: ระยะขอบ; margin-right: ระยะขอบ; margin-top: ระยะขอบ; เมื่อ margin-left หมายถึง margin-right หมายถึง margin-top หมายถึงระยะขอบหมายถึงกั้นขอบด้านซ้ายกั้นขอบด้านขวากันขอบด้านบนตัวเลขระยะขอบพร้อมหน่วยวัด 10.2.5 คุณสมบัติเกี่ยวกับกรอบการกำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับกรอบจะประกอบด้วย

การกำหนดรูปแบบของเส้นกรอบรูปแบบ

border-style: รูปแบบของเส้นกรอบ;

รูปแบบของเส้นกรอบ  ประกอบด้วยค่าดังนี้

ตัวอย่างเช่น border-style: solid;

การกำหนดคุณสมบัติของกรอบในคราวเดียว

ทางลัดในการกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของกรอบก็คือการใช้คุณลักษณะ border ตามด้วยค่าที่ต้องการกำหนดโดยเรียงจาก size, color, Style ตามลำดับเช่น border: 2px green solid เราสามารถสั่งแบบนี้ได้ก็ต่อเมื่อด้านของกรอบมีคุณสมบัติเหมือนกันทั้งสี่ด้าน

การกำหนดรูปแบบเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งของเส้นกรอบ

โดยปกติเมื่อมีการกำหนดคำสั่งในการจัดรูปแบบให้กับเส้นกรอบจะมีผลกับเส้นกรอบทั้งสี่ด้าน แต่ถ้าหากเราต้องการจัดรูปแบบเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งให้ใส่ด้านที่ต้องการเช่น top, right, -left, หรือ bottom ลงระหว่างคำว่า border กับคุณสมบัติที่กำหนดเช่น border-style: solid; border-top-color: blue; นอกจากนี้เรายังสามารถกำหนดค่าให้กับแต่ละด้านของกรอบให้แตกต่างกันได้ในคราวเดียวโดยกำหนดค่าแต่ละด้านเรียงตามลำดับโดยเริ่มจากด้านบนแล้ววนขวาเรียกว่า“ TRouBLe "ซึ่งแทน Top Right Bottom Left เช่น border-width: 2px 4px 4px 2px;

การกำหนดกรอบแบบมุมมน

รูปแบบ border-radius: ความมันความมน

เป็นการกำหนดระยะรัศมีของความโค้งที่จะปรับมุมของกรอบตัวอย่าง {background-color: # 999; border: 6px solid # 000; border-radius: 40px;}

การใส่เงาให้กับกรอบ

รูปแบบ box-shadow:

offset-x, offset-y, blur, color; offset-x offset-y

หมายถึงหมายถึงหมายถึงระยะของเงาในแนวนอน (ซ้าย-ขวา) ที่ห่างจากเส้นกรอบระยะของเงาในแนวตั้ง (ขึ้น-ลง) ที่ห่างจากเส้นกรอบกำหนดระดับความเบลอของเงากำหนดสีให้กับเงาปกติมักใช้เป็นสีเทาดำ blur color ตัวอย่าง box-shadow: 0px 0px 12px 6px rgb (0,0,0);

10.3 การกำหนด Selector

Selector เป็นส่วนหนึ่งใน CSS Rule ที่ใช้ในการกำหนดองค์ประกอบที่จะจัดรูปแบบ 1. Type Selector 2. Class Selector 3. ID Selector 10.3.1 mskua Type Selector เป็นการจัดรูปแบบให้กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่นส่วนของแท็กคำสั่งใน HTML เช่น <p>, <h1> เป็นต้นตัวอย่างเช่นการจัดรูปแบบแท็ก h1 ให้แสดงผลข้อความด้วยสีเขียว h1 {color: green;} ในกรณีที่เราต้องการกำหนดคุณสมบัติหลาย ๆ คุณสมบัติให้กับแท็กเดียวกันเราสามารถเขียน CSS Rule รวมกันได้เช่น h1 {color: blue;} h1 {font-family: Arial;} h1 {font-size: 3em;} เขียนรวมกันได้เป็น h1 {color: blue; font-family: Arial; font-size: 3em;} หรือ h1 {color: blue; font-family: Arial; font-size: 3em;} โดยทุกคุณสมบัติต้องอยู่ในเครื่องหมาย () เดียวกันและแต่ละ declaration ต้องปิดด้วยเครื่องหมายเซมิโคล่อน

ในกรณีที่เราต้องการกำหนดคุณสมบัติเดียวกันให้กับหลาย ๆ แท็กก็สามารถเขียน CSS Rule รวมกันได้เช่น

h1, h2, h3 {color: red; font-family: Arial;}

10.3.2 การกำหนด Class Selector

การกำหนดสไตล์โดยใช้ Selector แบบ Class จะเป็นการกำหนดรูปแบบของสไตล์ขึ้นก่อนโดยกำหนดอยู่ภายในคำสั่งหลัก <style> ซึ่งมีการกำหนดรูปแบบดังนี้

รูปแบบ <style> เชื่อสไตล์ Class {รูปแบบที่กำหนด} </ style> โดยที่ชื่อสไตล์ Class จะใช้จุด "" (full stop) นำหน้าชื่อสไตล์เพื่อกำหนดเป็นชื่อ Class สไตล์แบบ Class นี้จะสามารถนำไปใช้ได้กับหลาย ๆ องค์ประกอบที่ต้องการโดยอ้างถึงชื่อ Class เดียวกันได้

ตัวอย่างการกำหนดสไตล์แบบ Class

<style>

.paral {font-family: AngsanaUPC; font-weight: bold;

font-size: 20px; color: red;}

</ style>

162435772_289653735928864_22167637085903
111.png
162961332_493430948704672_34554069787940

10.4 การใช้งาน CSS 

การใช้งาน css-มีอยู่ 3 ลักษณะคือ 1. การกำหนดสไตล์ร่วม (Embedded Style Sheet) 2. การกำหนดสไตล์เฉพาะที่ (Inline Style Sheet) การใช้สไตล์ชีทจากภายนอก (Linked Style Sheet)) 3. 10.4.1 การกำหนดส le แล์ร่วม (EmbeddedStyleSheet) เป็นการกำหนดรูปแบบที่ต้องการโดยใช้คำสั่งหลัก style ในการกำหนดรูปแบบให้กับคำสั่ง HTML ใด ๆ เพื่อให้แสดงผลแตกต่างไปจากค่าปกติเดิมโดยส่วนที่กำหนดนี้จะถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าในส่วนต้นก่อนที่จะเข้าสู่ส่วนของ <body> เพื่อที่ว่าจะสามารถอ้างอิงถึงสไตล์ที่กำหนดไว้นี้ได้เมื่อต้องการในภายหลังการกำหนดคำสั่ง <style> </ style> ให้วางคำสั่งไว้ระหว่างคำสั่ง <html> กับ <body> โดยเขียนต่อจากคำสั่ง </ head> มีรูปแบบดังนี้ **** <html> <head> <title> </ title> </ head> <style> CSS Rule </ style> <body> </ body> </ html> โดยที่ <style> ... </ style> เป็นแท็กคำสั่งที่ใช้

กำหนดรูปแบบสไตล์การจัดรูปแบบตามรูปแบบของ Css CSS Rule

10.5 การจัดรูปแบบเฉพาะบางส่วนของข้อความด้วยคำสั่ง

<span> คำสั่ง <span> เป็นคำสั่งที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้ใช้ในการกำหนดคุณสมบัติของสไตล์ชีทใช้ในกรณีที่เราต้องการเปลี่ยนรูปแบบสไตล์เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อความเอกสารเรียกว่า Inline Span มีรูปแบบดังนี้

รูปแบบ <span style = "รูปแบบที่กำหนด; ...... " S ข้อความเอกสาร ..... </ span> คำสั่ง span นี้ยังสามารถกำหนดร่วมกับสไตล์แบบ Class และ ID ได้ด้วย 10.5.1 การกำหนด Inline Span ปัญหาในการนำแท็กรุ่นเก่า ๆ เช่น <b>, <i>, และ <del> มาใช้ร่วมกับการกำหนดสไตล์แยกเฉพาะบางส่วนก็คือคำสั่ง style = จะต้องถูกเขียนลงในแท็กที่มีอยู่แล้วตัวอย่างเช่นเราจะทำอย่างไรหากต้องการให้คำบางคำในข้อความเป็นตัวหนาดังเช่น <p> I had a <b> great </ b> time. </ p> จะเห็นว่าคำว่า great ไม่มีแท็กครอบอยู่จึงไม่สามารถใส่คำสั่ง style = ลงไปได้ทางแก้ก็คือการใช้คำสั่งซึ่งเป็นเสมือนตัวครอบลงในส่วนที่เราต้องการกำหนดคุณลักษณะใด ๆ ที่ต้องการลงไปซึ่งจากตัวอย่างข้างต้นเราจะแก้ไขได้ดังนี้ span <p> I had a <span style = "text-weight: bold"> great </ span> time. </ p> แม้ว่าคำสั่งจะยาวสักหน่อย แต่ก็จำเป็นซึ่งหากต้องจัดรูปแบบเช่นนี้หลาย ๆ จุดเราอาจใช้ Class เข้ามาช่วยเพื่อให้สะดวกขึ้นเช่นกำหนดสไตล์แบบ Class ในส่วนของแท็ก <style> .boldtext {text-weight: bold} จากนี้หากส่วนใดของข้อความต้องการเป็นตัวหนาให้สั่งดังนี้ <span class = "boldtext"> ข้อความ </ span>

163105013_599539767595769_40377719516529
bottom of page